วันอังคารที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2555

ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”


ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท การพัฒนาเครื่องมือ”
      

                    โครงงานประเภท การพัฒนาเครื่องมือ โครงงานพัฒนาเครื่องมือ โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานเพื่อพัฒนาเครื่องมือช่วย สร้างงานประยุกต์ต่างๆ โดยส่วนใหญ่ จะ อยู่ในรูป ซอฟต์แวร์ เช่น ซอฟต์แวร์ วาดรู ป ซอฟต์แวร์ พิมพ์งาน และซอฟต์แวร์ ช่วยการมองวัตถุในมุมต่างๆ เป็นต้น สาหรับซอฟต์แวร์ เพื่อการพิมพ์งานนั้นสร้างขึ้นเป็นโปรแกรมประมวลคา  ซึ่งจะเป็นเครื่องมือให้เราใช้ในการพิมพ์งานต่างๆบนเครื่องคอมพิวเตอร์ ส่วนซอฟต์แวร์ การวาดรู ป พัฒนาขึ้นเพื่ออานวยความสะดวกให้การวาดรูปบนเครื่องคอมพิวเตอร์ ให้เป็นไปได้โดยง่าย สาหรับซอฟต์แวร์ ช่วยการมองวัตถุในมุมต่างๆ ใช้สาหรับช่วยการออกแบบสิ่งของ อาทิเช่นผู้ใช้ วาดแจกันด้านหน้า และต้องการจะดูวาด้านบนและด้านข้างเป็นอย่างไร ก็ให้ซอฟต์แวร์ คำนวณค่าและภาพที่ควรจะเป็นมาให้ เพื่อพิจารณาและแก้ไขภาพแจกันที่ออกแบบไว้ได้อย่างสะดวก
                                                                  
 ตัวอย่างโครงการการแข่งขันพัฒนาซอฟแวร์โครงการ
 "การแข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แห่งประเทศไทย (National Software Contest :NSC)

          "การแข่งขันคอมพิวเตอร์ มีบทบาทสำคัญมากในชีวิตประจาวันและนับวันยิงมีบทบาทยิงขึ้นในทุกขณะ การพัฒนาทักษะในการเขียนโปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ คอมพิวเตอร์ นั้น ประเทศไทยมีศักยภาพในการแข่งขันกับต่างประเทศได้ แต่การผลิตบุคลากรที่จะมาพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ให้เพียงพอนั้น จาต้องอาศัย ับุคลากรจานวนมากเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันให้กบประเทศ จากความจาเป็นดังกล่าว ศูนย์เทคโนโลยี อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ แห่งชาติ (เนคเทค) จึงได้จดทาโครงการการแข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แห่งประเทศไทยนี้ เพื่อเป็นการกระตุนให้นกเรียน นิสิต นักศึกษาได้มีโอกาสพัฒนาทักษะการ ้ ัพัฒนาซอฟต์แวร์และนาเอาความรู้ที่ได้เรียนมาประยุกต์ใช้ในการสร้างสรรค์ผลงาน โดยสนับสนุนเงินทุนเพื่อเป็นแรงจูงใจและกระตุนให้นกเรียน นิสิต นักศึกษาทาการพัฒนาซอฟต์แวร์ด้วยตนเองและเปิดโอกาสให้มีการประกวดแข่งขันชิงเงินรางวัลในระดับประเทศ อันจะเป็นการสร้างเวทีสาหรับเยาวชนและผู้ที่สนใจในการพัฒนาความรู ้สู่การเป็นนักวิจัยระดับอาชีพต่อไป  
            จาก โครงการสนับสนุนการพัฒนาซอฟต์แวร์ขนาดเล็ก ซึ่งได้เริ่มดำเนินการครั้งแรกตั้งแต่ปี งบประมาณ 2537 เนคเทคได้ปรับกลยุทธ์ในการดาเนินโครงการโดยจัดให้มีเวทีการแข่งขันในระดับประเทศและเปลี่ยนชื่อเป็น การแข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แห่งประเทศไทย (NationalSoftware Contest : NSC)” ในปี พ.ศ. 2542 ซึ่งผู้ชนะเลิศในแต่ละประเภทจะได้รับถ้วยพระราชทานจาก ้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี
           นอกจากนั้น เนคเทค ยังได้ร่วมกับ SIPA และสมาคมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศไทยส่งผลงานซอฟต์แวร์ ที่ได้รับรางวัลชนะเลิศเข้าร่วมการประกวดในงาน Asia Pacific ICT Awards (APICTA)ในประเภทนักเรียน และนิสิต นักศึกษา ซึ่งงาน APICTA นี้ เป็น การประกวดผลงานด้านซอฟต์แวร์ ในด้านต่างๆ สาหรับประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิ 
    

ตัวอย่างโครงงานการพัฒนาซอฟแวร์

ปรแกรมสร้างโมเดลสามมิติจากการวาดอย่างง่าย (CPS’ketchuu)
ประเภทโปรแกรม -เพือประยุกต์ ใช้ งานสาหรับลินุกซ์ (ระดับนิสิตนักศึกษา) ่
รายงานฉบับสมบูรณ์
เสนอต่อ
ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ แห่งชาติ
สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ได้รับทุนอุดหนุนโครงการวิจัย พัฒนาและวิศวกรรม
โครงการแข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 13ประจำปี งบประมาณ 2553
โดย
ผู้พัฒนา นาย พิชยุตม์ พีระเสถียร (หัวหน้าโครงการ)
นาย ชลทิตย์ ประทีปมโนวงศ์
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ 
ผศ.ดร. พิษณุ คะนองชัยยศ
สถาบันการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
            กิตติกรรมประกาศ โครงการวิจัยเรื่อง โปรแกรมสร้างโมเดลสามมิติจากการวาดอย่างง่าย CPS’ketchuu” เป็นโครงการที่ได้รับทุนอุดหนุนจากการการแข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 13 จัดโดยศูนย์เทคโนโลยี อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ แห่งชาติ สา นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติทั้งนี้โครงการนี้จะสำเร็จลุล่วงไปไม่ได้เลยหากปราศจากความอนุเคราะห์จาก ผศ.ดร.พษิ ณุ คนองชัยยศอาจารย์ที่ปรึ กษาโครงการที่ได้ติดตามและให้คา แนะนา ที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาโครงการนี้มาโดยตลอด
ชลทิตย์ ประทีปมโนวงศ์
พิชยุตม์ พีระเสถียร
บทคัดย่อ
        โครงการนี้มีจุดประสงค์เพื่อสร้างโปรแกรมสร้างโมเดลสามมิติที่มีส่วนอินเตอร์ เฟสตั้งอยู่บ่นพื้นฐานของการวาด ซึ่งถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อลดความยุงยากในสร้างโมเดลสามมิติด้วยอินเตอร์ เฟสแบบดับบลิว ้ไอเอ็มพีซึ่งเป็นวิธีแบบดั้งเดิม เนื่องจากผู้ใช้งานส่วนมากจะคุนเคยกับวิธีการวาดภาพซึ่งเป็นพื้นฐานของการทา งาน 



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น